วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ข้อมูล GAP ของกรมวิชาการเกษตร


GAP ของกรมวิชาการเกษตร

ทุเรียน
ลำไย (PDF file)
กล้วยไม้ (PDF file)
สับปะรด
ส้มโอ
กาแฟโรบัสต้า
ผักกวางตุ้ง
มะเขือเทศ
หน่อไม้ฝรั่ง
ผักคะน้า
หอมหัวใหญ่
กะหล่ำปลี

พริก
ถั่วฝักยาว
ถั่วลันเตา
ผักกาดขาวปลี
ข้าวโพดฝักอ่อน
หอมหัวแบ่ง
กล้วยไม้ตัดดอก
มันสำปะหลัง
ยางพารา
มะม่วง
ส้มเขียวหวาน
ปทุมมา

ค่ามาตรฐานของ GAP ที่น่าสนใจ
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร หมายถึง ระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะต่างๆ ของตัวสินค้าเกษตร วิธีและขั้นตอนการผลิต รวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับสุขลักษณะ ความปลอดภัย มาตรฐานจะต้องเกิดจากการร่วมกันระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และต้องได้รับการยอมรับจากทั้ง 2 ฝ่าย เพื่อให้มาตรฐานถูกนำมาใช้เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินการทางการผลิตสินค้าเกษตรนั้นๆ

เอกสาร หลักการปฏิบัติเกษตรดีที่เหมาะสม GAP
-->

การปฎิบัติทางการเกษตรที่ดี สำหรับพืชอาหาร
-->
มาตรฐานสินค้า"ลำไย"
มาตรฐานสินค้า "กล้วยไม้"
มาตรฐานสินค้า "กระเจี๊ยบเขียว"
มาตรฐานสินค้า "พืชอาหาร"
มาตรฐานสินค้า "ข้าว"

ที่มา : กรมวิชาการเกษตร

2 ความคิดเห็น:

AjahnPat กล่าวว่า...

มะม่วงไทยส่งไปญี่ปุ่นถูกตีกลับถึง 3 ครั้ง (shipment) เพราะพบสารพิษตกค้างที่ยอมให้มีได้สูงสุด (MRL) ของสาร โปรพิโคนาโซล (Propiconazole) ชาวสวนต้องระวังเมื่อใช้แล้วต้องทิ้งให้สารสลายตัวไม่ต่ำกว่า 45 วัน

AjahnPat กล่าวว่า...

ระวัง ! สำหรับผู้ส่งออกไปยังญี่ปุ่น
รัฐบาลญี่ปุ่นได้ออกประกาศใหม่เกี่ยวกับค่า MRL โดยกำหนดให้มี Positive List (รายการที่อนุญาตให้ใช้ได้) จะมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2549 มีการกำหนดค่า MRL ของสารเคมีเพียงจำนวนหนึ่ง หากสารเคมีทางการเกษตรที่ไม่ได้กำหนดค่าไว้ในรายการดังกล่าว จะกำหนดไว้ค่าเดียว คือ 0.01 ppm ทุกรายการ สามารถดูรายการ Positive List ได้ใน MRL ของประเทศญี่ปุ่น